Home บทความคดีแพ่ง องค์ประกอบของคดีดูหมิ่นซึ่งหน้าศาลฎีกาวางหลักไว้อย่างไร

องค์ประกอบของคดีดูหมิ่นซึ่งหน้าศาลฎีกาวางหลักไว้อย่างไร

1971

องค์ประกอบของคดีดูหมิ่นซึ่งหน้าศาลฎีกาวางหลักไว้อย่างไร

ดูหมิ่น

หรือเกี่ยวข้องกับ “หมิ่นประมาท”

มาตรา ๒๙๓ “ผู้ใดดูหมิ่นผู้อื่นซึ่งหน้าหรือด้วยกายโฆษณา ต้องระวาง โทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ เป็นความผิดเล็กน้อยโทษเบาๆ ซึ่งประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติไว้ในหมวด ความผิด “ลหุโทษ”

องค์ประกอบความผิด

๒. ดูหมิ่น ผู้อื่น ๓. ซึ่งหน้าหรือโดยการโฆษณา ๔. โดยเจตนา

ดูหมิ่น

หมายความถึง ดูถูกเหยีดหยามทำให้อับอาย ซึ่งอาจจะกระทำทางกริยา เช่น ยกส้นเท้าให้ ถ่มน้ำลายรด ชี้ให้ดูของลับ หรือกระทำทางวาจาเช่นด่าด้วยคำหยาบคาย หรือด่าว่าเป็นสัตว์เดรัจฉาน

๒. ผู้อื่น (ผู้เสียหาย)

คือบุคคลอื่นที่ถูกดูหมิ่น (ผู้เสียหาย) ซึ่งมักจะเป็นบุคคลธรรมดา (กรณีดูหมิ่นไม่จำต้องมีหรือกระทำต่อบุคคลที่สามเหมือนกรณีหมิ่นประมาท ตามมาตรา ๓๒๖)

ซึ่งหน้าหรือด้วยการโฆษณา .

“ซึ่งหน้า” หมายความว่า ต่อหน้าผู้ถูกดูหมิ่น “ด้วยการโฆษณา” หมายถึง กระทำให้แพร่หลาย เช่นปิดใบปลิว หรือลงข่าว หนังสือพิมพ์

ปัญหาคดีความปรึกษาทีมงานนคร สำนักงานกฎหมายปรัชญาเศรษฐ์ทนายความ
สำนักงานกฎหมายปรัชญาเศรษฐ์ ถนนร่มเกล้า ซอย10 แขวง เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร
หมู่บ้านศุภาลัย พาร์ควิลล์3 ซอย4 (อยู่ระหว่างซอย10 และซอย 8)
บ้านเลขที่ 290/221 โทร 0899811406 ครับ
อ่านบทความเพิ่มเติมได้ที่ https://www.byslaw.com/

Facebook Comments