ทะเบียนพินัยกรรม
พินัยกรรม คือ คำสั่งครั้งสุดท้าย ซึ่งแสดงเจตนากำหนดการเผื่อตายในเรื่องทรัพย์สินหรือกิจการ ๆ ของผู้ทำพินัยกรรม เพื่อที่จะเกิดผลบังคับตามกฎหมายในเมื่อผู้ทำพินัยกรรมถึงแก่ความตาย โดยทำ ใดแบบหนึ่งที่กฎหมายกำหนดไว้ (ป.พ.พ. มาตรา ๑๖๔๖-๑๖๔๔)
แบบของพินัยกรรม มี ๕ แบบ คือ
๑. พินัยกรรมแบบธรรมดา (ป.พ.พ. มาตรา ๑๖๕๖)
๒. พินัยกรรมเขียนเองทั้งฉบับ (ป.พ.พ. มาตรา ๑๖๕๗)
๓. พินัยกรรมทำเป็นเอกสารฝ่ายเมือง (ป.พ.พ. มาตรา ๑๖๕๘)
๔. พินัยกรรมทำเป็นเอกสารลับ (ป.พ.พ. มาตรา ๑๖bo)
๕. พินัยกรรมทำด้วยวาจา (ป.พ.พ. มาตรา ๑๖๖๓)
พินัยกรรมทั้ง ๕ แบบนี้ ทางอำเภอมีหน้าที่เกี่ยวข้องเพียง ๓ แบบ คือแบบที่ ๓, ๔ และ ๕ ส่วน แบบที่ ๑ และแบบที่ ๒ ทางอำเภอไม่ต้องเกี่ยวข้อง
มีปัญหาคดีความปรึกษาทีมงานทนายกฤษดา
โทร 089-142-7773 ไลน์ไอดี @lawyers.in.th
Facebook Comments