สัญญาที่ไม่ปิดอากรแสตมป์ให้ถูกต้องมีผลต่อการฟ้องเช็คในคดีอาญาหรือไม่
หนี้ที่กฎหมายบังคับว่า จะต้องทำเป็นสัญญาหรือมิได้บังคับแต่คู่กรณีสมัครใจทำเป็นสัญญาแล้วจะต้องปิดอากร แสตมป์ตามประมวลรัษฎากร
หากสัญญานั้นไม่ปิดอากรแสตมป์ให้ถูกต้องหรือปิดอากรแสตมป์ ถูกต้องแล้วแต่ไม่ขีดฆ่าอากรแสตมป์นั้นตามประมวลรัษฎากรมาตรา 118 ก็มีผลทางกฎหมาย
ใช้อ้างอิงนำมาเป็นพยานหลักฐานในชั้นศาลนั้น เป็นเรื่องทางแพ่งและเป็นเรื่อง ให้ครบถ้วนและหรือมิได้ขีดฆ่าอากรแสตมป์จึงต้องถือว่า เป็นหนี้ที่มีอยู่จริงและเป็นหนี้ที่บังคับตามกฎหมายได้
ต้องห้ามมิให้ กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งเท่านั้น ไม่มีผลทางอาญาเกี่ยวกับพระราชบัญญัติว่าด้วย ความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ.2534
มาตรา 4 หมายความว่าการออกเช็คเพื่อชำระหนี้ ที่บังคับตามกฎหมายได้ซึ่งจะต้องมีหลักฐานแห่งการกู้ยืมเงินลงลายมือชื่อผู้กู้หรือผู้ออกเช็ค
ก็ดี หรือกรณีสัญญาที่กฎหมายบังคับว่าต้องทำเป็นหนังสือก็ดี แม้หลักฐานหรือสัญญานั้นจะ มิได้ปิดอากรแสตมป์หรือปิดอากรแสตมป์ไม่ครบหรือปิดอากรแสตมป์แต่มิได้ขีดฆ่าอากรแสตมป์ นั้น ก็ถือว่าเป็นการออกเช็คเพื่อชำระหนี้ที่มีอยู่จริงและเป็นหนี้ที่บังคับกันได้ตามกฎหมายแล้ว จำเลยผู้ออกเช็คย่อมมีความผิดทางอาญา
(คำพิพากษาฎีกาประชุมใหญ่ที่ 1002/2544 และคำพิพากษาฎีกาที่ 42/2545) เหตุที่เป็นเช่นนั้นคงเนื่องมาจากสัญญาแห่งการกู้ยืมหรือ สัญญาอื่นๆ
ที่กฎหมายบังคับว่าจะ ต้องทำมิฉะนั้นเป็นโมฆะหรือฟ้องร้องกันไม่ได้นั้น แม้จะ ยังไม่ได้ปิดอากรแสตมป์หรือยังไม่ได้ขีดฆ่าอากรแสตมป์
สัญญานั้นก็ยังมีผลใช้บังคับอยู่ เพียงแต่ประมวลรัษฎากรมาตรา 118 ห้ามมิให้ศาลรับฟังเป็นพยานหลักฐานเท่านั้น ซึ่งใน
กรณีดังกล่าวเจ้าหนี้ก็มีทางแก้ไขโดยดำเนินการปิดอากรแสตมป์ให้ถูกต้องซึ่งจะต้องเสียค่าปรับ เพิ่มขึ้นตามกฎหมาย เมื่อได้ดำเนินการปิดอากรแสตมป์ถูกต้องก่อนศาลพิพากษายกฟ้องถึง ที่สุดแล้วศาลก็จะรับฟังหลักฐานนั้นในทางแพ่งได้ กรณีดังกล่าวจะถือว่าเป็นหนี้ที่บังคับตาม กฎหมายไม่ได้ก็ไม่เชิงเสียที่เดียว
ดังนั้น มูลหนี้ตามเช็คที่จำเลยสั่งจ่ายชำระหนี้ที่เกิดจาก สัญญาที่มิได้ปิดอากรแสตมป์
สำนักงานกฎหมายปรัชญาเศรษฐ์ ถนนร่มเกล้า ซอย10 แขวง เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร
หมู่บ้านศุภาลัย พาร์ควิลล์3 ซอย4
บ้านเลขที่ 290/221 โทร 0899811406 ครับ
อ่านบทความเพิ่มเติมได้ที่ https://www.byslaw.com/