คําถาม ผู้รับโอนทรัพย์จํานองประสงค์จะไถ่ถอนทรัพย์จํานอง จะต้องซําระดอกเบีย
ในอัตราตามที่ผู้จํานองกับผู้รับจํานองตกลงกันไว้ตามหนังสือสัญญาจํานองด้วยหรือไม่
คําตอบ มีคําพิพากษาฎีกาวินิจไว้ดังนี่ฃคําพิพากษาฎีกาที่ ๕๕๑/๒๕๒๕ หนี่ตามลสัญญากู้เงินขาดอายุความและจําเลยที ๑ ต่อสู้เรืองอายุความแล้ว โจทก์ย่อมไม่มีสิทธิเรียกร้องให้จําเลยที ๑ ชําระหนี่ตามสัญญากู้เงิน ส่วนหนี่จํานองอันเป็นหนีอุปกรณ์แม้ไม่ระงับไปโดยหนี้ประธานขาดอายุความตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๕๕ และหนี้ประธานขาดอายุความยับังคับจํานองได้ตาม มาตรา ฆ๕๕ ก็ตาม แต่การบังคับจํานองย่อมต้องบังคับเอาจาก
ผู้เป็นเจ้าของทรัพย์จํานองเพราะเป็นการบังคับเอาจากตัวทรัพย์จํานอง ขณะฟ้องคดีจําเลยที ๑ มิได้เป็นเจ้าของทรัพย์จํานองเนืองจากมีการขายทอดตลาดทรัพย์จํานองตามคําสั่งศาลแล้ว โจทก์ย่อมไม่มีสิทธิบังคับจํานองทรัพย์จํานองแก่จําเลยที่ ๑ จําเลยที่ไม่ต้องรับผิดต่อโจทก์จําเลยที่ ๒ ต้องรับผิดในดอกเบียผิดนัดเพียงร้อยละ ฆ.๕๐ ต่อปี หรือไม่ แม้จําเลยที ๒ มิได้อุทธรณ์โต้แย้งไว้ดังทีฎีกา แต่การกําหนดอัตราดอกเบียตามกฎหมายเป็นปัญหา
ข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน จําเลยที ๒ ฎีกาได้ดอกเบียของต้นเงินและอัตราดอกเปบียที่ตกลงกันไว้ตามหนังสือสัญญาจํานองที่ดินเป็นประกันและข้อตกลงต่อท้ายสัญญาจํานองเป็นประกันย่อมมีผลผูกพันถึงจําเลยที ๒ผู้ซื้อทรัพย์โดยติดจํานองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา «๑๕ เพราะจําเลยที่ ๒ ซึ่งเป็นผู้รับโอนทรัพย์จํานอง หากประสงค์จะไถ่ถอนจํานองจะต้องชําระดอกเบียในอัตราตามที่ตกลงกันไว้ในสัญญาจํานองนับแต่มีการผิดนัดของจําเลยที่ ๑ซึ่งเป็น นี้ชั้นต้นหรือผ้จำนองงเป็นลูกหนีชั้นต้นหรือผู้จํานองตามมาตรา ซ๓๕ โจทก์ผู้รับจํานองมีสิทธิบังคับจํานองเพื่อซําระหนี่ต้นเงินและดอกเบียได้ตามสัญญาจํานอง แต่จะใช้สิทธิบังคับให้จําเลยที่ ๒ชําระดอกเบียที่ค้างย้อนหลังเกินห้าปีขึ้นไปไม่ได้ตามมาตรา ๑๑๓/๒๕