Home คดีครอบครัว หลักการแบ่งป็นทรัพย์มรดก ศาลฎีกาวางหลักไว้อย่างไร

หลักการแบ่งป็นทรัพย์มรดก ศาลฎีกาวางหลักไว้อย่างไร

2134

หลักการแบ่งป็นทรัพย์มรดก ศาลฎีกาวางหลักไว้อย่างไร

สวัสดีครับ ทีมงานทนายกฤษดา ดวงชอุ่ม ขอกราบเรียนให้ทราบถึงหลักแบ่งปันทรัพย์มรดก หรือการเริ่มต้นมีสภาพบุคคล ศาลฎีกาวางหลักไว้อย่างไร

หลักการแบ่งป็นทรัพย์มรดก

(๑) ถ้าผู้ตายมีคู่สมรส และคู่สมรสยังมีชีวิตอยู่ ให้แบ่งปีนสินสมรสระหว่างสามีภรรยาก่อน

(๒) เมื่อแบ่งปีนระหว่างสามีภรรยาแล้ว เฉพาะส่วนของผู้ตาย คือ ทรัพย์มรดกที1จะต้องนำไปแบ่งปีน ระหว่างทายาท

การเป็นทายาทเริ่มเมื่อมีสภาพบุคคล

สภาพบุคคลย่อมเริ่มแต่เมื่อคลอดและอยู่รอดเป็นทารก สิ้นสุดลงเมื่อตาย (ป.พ.พ. มาตรา ๑๕)

บุคคลธรรมดาจะเป็นทายาทไต้ต่อเมื่อมีสภาพบุคคลในเวลาที่เจ้ามรดกถึงแก1ความตาย ให้ถือว่า เด็กที่เกิดมารอดอยู่ภายในสามร้อยสิบวันนับแต่เวลาที่เจ้ามรดกถึงแก,ความตายนั้นเป็นทารกในครรภ์มารดา อยู่ในเวลาที่เจ้ามรดกถึงแก่ความตาย (ป.พ.พ. มาตรา ๑๖๐๔)

หมายความว่า บุคคลธรรมดาจะมีสิทธิรับมรดกไต้ต้องมีสภาพบุคคลก่อน แต่ทารกในครรภ์มารดา ก็สามารถมีสิทธิต่างๆ ไต้ หากว่าภายหลังคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารก เข่น นาย ก. เป็นบิดาของเด็กขาย ข. เมื่อนาย ก. ถึงแก่ความตาย ทรัพย์มรดกของนาย ก. จะตกทอดแก่เด็กขาย ข. แต่หากนาย ก. เสียชีวิตในขณะที่ เด็กขาย ข. บุตรยังอยู่ในครรภ์ภริยาของนาย ก. เด็กขาย ข. ยังอยู่ในฐานะทายาทผู้มีสิทธิรับมรดกอีกหรือไม1 ก็ต้องดูว่าเด็กขาย ข. เมื่อคลอดแล้วเกิดมารอดอยู่เป็นทารกหรือไม1 ล้ารอดอยู่เป็นทารก เด็กขาย ข. ก็มีสิทธิ ไต้รับมรดก ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๖๐๔ ประกอบมาตรา ๑๕

มีปัญหาคดีความปรึกษาทีมงานทนายกฤษดา

ทนายกฤษดา ดวงชอุ่ม 0891427773 ไลน์ไอดี @lawyers.in.th

ทนายกฤษดา ดวงชอุ่ม

Facebook Comments